ถ้าคุณกำลังมองหาเครื่องมือที่ทำให้การจัดการข้อมูลและการตัดสินใจในธุรกิจของคุณง่ายขึ้น
การใช้งาน DASHBOARD แบบออนไลน์เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้การบริหารจัดการข้อมูลของคุณได้ทันสมัย รวดเร็วและมีประสิทธิภาพ
DASHBOARD ออกแบบมาเพื่อให้ผู้ใช้สามารถเข้าถึงและจัดการข้อมูลต่างๆ
ที่ช่วยให้คุณสามารถมองเห็นภาพรวมของข้อมูลที่สำคัญได้ง่ายและชัดเจน
ฟังก์ชันที่คอยรายงาน สรุปผลรายรับ รายจ่ายต่างๆ ไม่ว่าจะมีกี่สาขา ก็สามารถเชื่อมเข้าหากันและดูผลลัพท์ผ่านทาง Dashboard ได้ง่ายๆ
แค่มี Dashboard ทุกอย่างก็จะง่ายขึ้นอย่างแน่นอน
Full Package สุดคุ้ม ไม่เหมือนที่ไหน การันตีด้วยผู้ใช้งานจริง
Full Package ราคา 7,890
พิเศษชำระเพียง 5,900 บาท
เปรียบการบริหารงานขององค์กรกับการขับรถยนต์
ผู้บริหารเสมือนกับคนขับที่จำเป็นต้องสังเกตและวิเคราะห์สถานการณ์ต่างๆ อย่างรวดเร็วและแม่นยำผ่านแผงหน้าปัดในรถยนต์
ซึ่งในโลกของการบริหารงานนั้น “Dashboard” คือแผงควบคุมที่ทำหน้าที่เหมือนเรือนไมล์ในรถยนต์นั่นเอง
Dashboard ในการบริหารงาน เป็นเครื่องมือที่รวบรวมข้อมูลสำคัญต่างๆ ขององค์กร
เช่น ผลการดำเนินงาน, รายได้, ต้นทุน, และตัวชี้วัดประสิทธิภาพต่างๆ เพื่อให้ผู้บริหารสามารถมองเห็นภาพรวมได้ในทันที
Dashboard ช่วยให้ผู้บริหารไม่ต้องเสียเวลาไปกับการค้นหาข้อมูลจากแหล่งต่างๆ ทำให้สามารถตัดสินใจได้อย่างรวดเร็ว
เช่นเดียวกับที่คนขับต้องใช้เรือนไมล์ในการตรวจสอบสถานะต่างๆ ของรถ เพื่อที่จะขับขี่ได้อย่างปลอดภัยและเหมาะสมกับสภาพถนน
ผู้บริหารก็ต้องใช้ Dashboard เพื่อตรวจสอบสถานะขององค์กร จับตาดูตัวชี้วัดสำคัญ
และปรับเปลี่ยนกลยุทธ์อย่างทันท่วงที เพื่อนำพาองค์กรสู่เป้าหมายอย่างแม่นยำ
ในยุคสมัยนี้ที่ข้อมูลเป็นสิ่งจำเป็นต่อการตัดสินใจ Dashboard ไม่เพียงแต่ช่วยให้การบริหารจัดการง่ายขึ้นเท่านั้น
แต่ยังช่วยให้สามารถรับมือกับความท้าทายและความเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็วของโลกธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
S a l e D a s h b o a r d
รองรับธุรกิจค้าขาย Online / Offline เกือบทุกประเภท ในนี้มีอะไรบ้าง
1. Main Menu สำหรับปรับแต่งได้เอง
2. Blueprint ที่เอา K P I หรือ OKRs จัดเตรียมสำหรับบริหารงาน
3. Main Dashboard สำหรับมองภาพรวมของผู้บริหาร
4. K P I set หัวข้อต่างๆที่ต้องการนำมาเป็นตัวชี้วัด
5. ยอดขายรวม
6. ยอดขายตามพื้นที่
7. ยอดขายรายบุคคล
8. รายชื่อทีมเซลล์หรือพนักงานขาย
9. เป้าหมายรายบุคคล
10. รายการสินค้า
11. Input Data ช่องใส่ข้อมูลยอดขายในแต่ละวัน
12. K P I Dashboard ดูแบบรายตัว
13. เงื่อนไขของการจ่ายคอมมิชชั่น
14. S a l e Forecast และแผนกำลังคน Man Power Plan
15. S a l e Forecast แบบลงรายละเอียดในการใส่ตัวสินค้าและราคาขาย
พิเศษพร้อมวิดีโอสอนการใช้แบบละเอียดสามารถทำตามได้เลย
ราคา 2490 บาท
C E O D a s h b o a r d
รองรับธุรกิจทุกประเภทในนี้มีอะไรบ้าง
1. C E O Dashboard สำหรับมองภาพรวมของผู้บริหาร >
ที่สามารถเลือกดูเป็นรายเดือนย้อนหลังได้
2. ตารางบันทึกค่าใช้จ่ายแยกประเภท
และใช้ดูงบประมาณและกระแสเงินสดรายเดือน
3. Key in Data ช่องใส่ข้อมูลค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในแต่ละวัน
4. List Set up ช่องใส่เงื่อนไขค่าใช้จ่ายแยกประเภท
สามารถปรับแต่งได้เองตามรูปแบบของบัญชี
5. Summary Data ช่องรวมข้อมูลทุกอย่าง
พิเศษพร้อมวิดีโอสอนการใช้แบบละเอียดสามารถทำตามได้เลย
ราคา 1590 บาท
Template ทำงานอย่างไร ง่ายๆ เพียง
1. ใส่ข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง ตามรูปแบบการดำเนินธุรกิจลงใน Template ยอดขาย, ต้นทุนแยกประเภท และค่าใช้จ่ายต่างๆ
2. Dashboard จะประมวลผล ที่เป็นประโยชน์ในมิติต่างๆ ซึ่งจะช่วยในการตัดสินใจทางธุรกิจ
Dashboard สำคัญอย่างไร มีประโยชน์กับธุรกิจแค่ไหน 📌
ถ้าการบริหารงานเปรียบเสมือนการขับรถ
ซึ่งต้องมองภาพรวมและสถานการณ์ต่างๆผ่านหน้าจอเรือนไมล์
เรือนไมล์ของการบริหารงานก็คือ Dashboard
ที่ผู้บริหารจำเป็นต้องมองให้เป็น
โดยใช้เวลาน้อยที่สุดในการทำความเข้าใจ
จะดีกว่าไหมถ้าเรามีเครื่องมือพิเศษใช้งาน Dashboard ง่ายๆ
ด้วย Google Dashboard แบบ ออนไลน์
เรารวบรวมฟังก์ชันต่างๆ ไว้มากมาย โดยเฉพาะฟังก์ชัน Dashboard
ฟังก์ชันที่คอยรายงาน สรุปผลรายรับ รายจ่ายต่างๆ ไม่ว่าจะมีกี่สาขา
ก็สามารถเชื่อมเข้าหากันและดูผลลัพท์ผ่านทาง Dashboard ได้ง่ายๆ
แค่มี Dashboard ทุกอย่างก็จะง่ายขึ้นอย่างแน่นอน
✅ ราคาถูก คุ้ม ไม่เหมือนที่ไหน การันตีด้วยผู้ใช้งานจริง
1. S a l e Dashboard
2. H R Dashboard
3. C E O Dashboard
4. P r o j e c t Dashboard
5. D a i l y Dashboard
✅ วิธีทำงานและการเช็คค่าของ Dashboard
ข้อมูล ที่ต้องตั้งค่าคือ
1. หมวดค่าใช้จ่ายแยกประเภท
– รหัสของค่าใช้จ่ายเช่น
> ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้า COP Cost of Product / Purchase,
> ค่าแรงพนักงานคือ COL COst of Labor เป็นต้น
> ค่าใช้จ่ายทางการตลาด COM Cost of Marketing
> ค่าใช้จ่ายการฝึกอบรมหรือที่ปรึกษา COT Cost of Training
> ค่าใช้จ่ายในการบริหารสำนักงาน COA Cost of Admin
2. หมวดรายรับ ที่ มาจากช่องทางต่างๆ
> รายรับจากการขายสินค้า ผ่านช่องทาง Online
> รายรับจากการขายสินค้า ผ่านช่องทาง Off line
> รายรับจากการให้บริการ
> รายได้จากตัวแทนขายสินค้า
> รายได้จากการฝากขายตามห้างสรรพสินค้า
> รายได้จากแหล่งช่องทางอื่นๆ
✅ อัตราส่วนทางการเงิน ที่จะได้รับ ประโยชน์จาก การใช้ CEO Dasboard
1.การรายงานผลของ รายได้, ค่าใช้จ่าย, ต้นทุน , กำไร หรือ ขาดทุน
เป็นรายเดือนไป สามารถเลือกดู ย้อนหลังได้ ไม่มีขีดจำกัด
ขึ้นอยู่กับข้อมูลที่ใส่ลงไปใน Google Drive ของตัวเอง
2.อัตราส่วนทาง การเงิน ที่ใช้เปรียบเทียบกับยอดขายในแต่ละเดือน
แล้วรายงานออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์เพื่อ นำไปทำเป้าหมายขององค์กร
และ ของ แต่ละฝ่ายหรือแผนกได้
เช่น …
> ต้นทุนการซื้อสินค้ามาเพื่อจำหน่าย
COP ต้องไม่เกิน 50% เมื่อเทียบกับยอดขาย
> ค่าแรงพนักงาน COL ต้องไม่เกิน 15% เมื่อเทียบกับยอดขาย
> ค่าใช้จ่ายทางการตลาด COM ต้องไม่เกิน 8% เมื่อเทียบกับยอดขาย
> ค่าใช้จ่ายในการบริหาร COA ต้องไม่เกิน 5% เมื่อเทียบกับยอดขาย
> ใครจะทำภาษี ภพ.30 ที่ต้องจ่ายจ่ายรายเดือน
ให้กับสรรพากร ต้องไม่เกิน 2% เมื่อเทียบกับยอดขาย
เป็นต้น 📌